• ภาษาไทย
    • English

ตัวบ่งชี้ที่ 10.0.5 : การสืบสานโครงการพระราชดำริ (Srivijaya)

เกณฑ์มาตรฐาน

ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน
1 มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
2 มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)
3 เป็นแบบอย่างหรือแหล่งเรียนรู้สำหรับชุมชนหรือท้องถิ่น
4 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคมหรือทำให้ชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง
5 ได้รับการยกย่องระดับชาติหรือนานาชาติ

ผลการดำเนินงาน

ข้อ ผลการดำเนินงาน รายการหลักฐาน
1

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง  ได้ดำเนินการจัดตั้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในปีการศึกษา 2556 คณะฯ ได้มีการดำเนินการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช จำนวน 2 โครงการ ดังนี้

     1. เรื่อง การทดลองรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการทำแปลงปลูกหญ้าทะเลเพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรประมง  โดยมี ดร.ประเสริฐ  ทองหนูนุ้ย เป็นเจ้าของโครงการซึ่งได้ดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว       
     2. เรื่อง การทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

FISHTECH 10.0.5-1-01  คำสั่งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง  เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

FISHTECH 10.0.5-1-02 รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การทดลองรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการทำแปลงปลูกหญ้าทะเลเพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรประมง 

FISHTECH 10.0.5-1-03  รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่องการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
2

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี  ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ได้แก่

     -  ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คือ ศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอพันธุกรรมพืชท้องถิ่นของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จำนวน 10 ชนิดจากการสรุปผลการดำเนินโครงการ สรุปได้ว่า

      - มีลายพิมพ์ดีเอ็นเอพันธุกรรมพืชท้องถิ่นของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง  จำนวน 10 ชนิด

     เพราะฉนั้นสรุปได้ว่า การจัดทำโครงการดังกล่าว บรรลุตามเป้าหมายตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 100

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 10.0.5 ข้อที่ 1)

FISHTECH 10.0.5-1-03  รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่องการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
3

    โครงการการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจเก็บตัวอย่างพันธุกรรมพืชในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอพันธุกรรมพืชท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จากซี่งผลจากการศึกษาสามารถให้ชุมชนและท้องถิ่นมาศึกษาเรียนรู้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชภายในมหวิทยาลัย

     โครงการการทดลองรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการทำแปลงปลูกหญ้าทะเลเพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรประมง วัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อเปรียบเทียบขนาดของพื้นที่ของแปลงปลุกต่อการเข้ามาอยู่อาศัยของสัตว์น้ำจากผลการศึกษาพบว่า มีกล้าหญ้าทะเลสำหรับการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในท้องถิ่น

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 10.0.5 ข้อที่ 1)

FISHTECH 10.0.5-1-03 รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่องการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
4    โครงการการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง  และโครงการการทดลองรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับ การทำแปลงปลูกหญ้าทะเลเพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรประมง วัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อเปรียบเทียบขนาดของพื้นที่ของแปลงปลุกต่อการเข้ามาอยู่อาศัยของสัตว์น้ำเป็นโครงการที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าให้กับชุมชนเป็นอย่างยิ่งเนื่องเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ของชุมชนและเป้นโครงการที่สามรถฟื้นฟูทรัพยากรประมงในท้องถิ่นได้

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 10.0.5 ข้อที่ 1)

FISHTECH 10.0.5-1-03 รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่องการทำ DNAFingerprint1ของพันธุ์พืชในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

5  -  -