• ภาษาไทย
    • English

ดร.ขวัญตา ตันติกำธน


 
ชื่อภาษาอังกฤษ   : Dr. Khwanta  Tantikamton
ชื่อภาษาไทย       : ดร.ขวัญตา ตันติกำธน
ตำแหน่ง             : อาจารย์

ตำแหน่งทางวิชาการ  : -

หลักสูตร              :   อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  (ป.โท)

TEL             : -

EMAIL         : khwanta.t@rmutsv.ac.th

 
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก   วท.ด.  ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ปริญญาโท    วท.ม.  ชีววิทยา                                มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ปริญญาตรี    วท.บ.  วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม             มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ปริญญาตรี    ส.บ.   อาชีวอนามัยและความปลอดภัย      มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา) 
  • การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • การประเมินคุณภาพชายหาดโดยใช้สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่
  • การใช้ดัชนีชี้วัดทางชีวภาพเพื่อประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์
  • ชุตินุช สุจริต พรอุมา ไกรนรา และขวัญตา ตันติกำธน. 2543. การศึกษาตัวกรองโดยใช้วัสดุธรรมชาติซึ่งมีผลต่อคุณภาพน้ำในตู้ปลา. เอกสารการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2541. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 21 หน้า.

  • ชาญยุทธ สุดทองคง พรเทพ วิรัชวงศ์ ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ และขวัญตา ตันติกำธน. 2547. ความหลากหลายของทรัพยากรประมงในป่าจาก บริเวณปากแม่น้ำตรัง จังหวัดตรัง.  เอกสารการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2545. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 53 หน้า.

  • ขวัญตา ตันติกำธน วรากร วิศพันธ์ ณัฐยาน์ เปียแดง และนุกูล อินทรสังขา. 2549. การคัดเลือกแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติบำบัดโลหะหนักจากขุมเหมืองแร่เก่า อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ใน การประชุมวิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติครั้งที่ 5 โรงแรมสยามซิตี กรุงเทพฯ 8-10 มีนาคม 2549.

  • ขวัญตา ตันติกำธน. 2550. การเปรียบเทียบระดับความทนทานโลหะหนักสายพันธุ์ดั้งเดิมกับแบคทีเรียที่ผ่านการเลี้ยงในโลหะหนัก. เอกสารการวิจัยปีงบประมาณ 2550. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 23 หน้า.

  • นุกูล อินทระสังขา ลัดดาวรรณ จันทโหม ขวัญตา ตันติกำธน  ศรชัย ดำขุนนุ้ย   จิราภรณ์ แสนเสนาะ วรากร วิศพันธ์ และ ณัฐยาน์  เปียแดง. 2551. การใช้รังสีแกมมาเพิ่มประสิทธิภาพแบคทีเรียเพื่อบำบัดโลหะหนักจากดินและน้ำในอำเภอร่อนพิบูลย์  จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 18, 25-26 กันยายน 2551.

  • ประสิทธิ์ ศรีนคร ขวัญตา ตันติกำธน อรรถวิโรจน์ เขียวนาค จิระพล ศรีเสริฐผล กนต์ธร ชำนิประศาสน์. 2554. การบำบัดตะกอนเลนในบ่อเลี้ยงกุ้งทะเลโดยกระบวนการย่อยสลายแบบไร้ออกซิเจน. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม; 7: 10-12.

  • ลัดดาวัลย์ แก้วส่งแสง อมรรัตน์ อังอัจฉริยะ สุวิทย์ จิตรภักดี ขวัญตา ตันติกำธน และ เอนก สาวะอินทร์. 2560. การเปลี่ยนแปลงปริมาณอินทรียวัตถุและฟอสฟอรัสในดินบริเวณพื้นที่พืชอิงอาศัยของเห็ดเสม็ดในจังหวัดตรัง. ใน การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55, 31 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2560.

  • จันทิมา รอดภัย และขวัญตา ตันติกำธน. 2560. ความหลากชนิดและความสัมพันธ์ของหอยกับปริมาณสารอินทรีย์ของตะกอนดินในเขตน้ำขึ้นน้ำลงชายหาดจังหวัดตรัง. ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 “ประเทศไทย 4.0 นวัตกรรมสร้างสรรค์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน”, 20 – 21 กรกฎาคม 2560.

  • Sheriff N., Little D. C. and Tantikamton K. 2008. Aquaculture and the poor : Culturing high-value fish can be a viable livelihood option.  Tropical coasts; 15 (2) : 12-16.

  • Sheriff N., Little D. C. and Tantikamton K. 2008. Aquaculture and the poor—Is the culture of high-value fish a viable livelihood option for the poor? Marine Policy; 32: 1094-1102.

  • Tantikamton, K., Nhaknaen, P., Pokaew, K., Ninlaor, N. and Thanee, N. 2011. Solid Waste Composition and the Behavior of Household Solid Waste Management in Some Small Islands, Trang Province, Thailand. In Proceeding of Regional stability through economic, social and environmental development in the Greater Mekong Sub-region and Asia –Pacific. 8-12 August 2011, Cinnamon Grand Hotel, Sri Lanka.

  • Tantipanatip, W., Jitpukdee, S., Keeratiurai, P., Tantikamton, K. and Thanee, N. 2014. Life cycle assessment of Pacific white shrimp (Penaeus vannamei) farming system in Trang province, Thailand. Advanced Materials Research. 1030-1032: 679-682.

  • Tantikamton, K., Thanee, N., Jitpukdee, S. and Potter, M. 2015. Species diversity and ecological characteristics of benthic macroinvertebrates in the intertidal zone of Satun province, Thailand and the first record of Petersenaspis sp. International Journal of advances in Agricultural and Environmental Engineering. 2(1): 23-27.         

  • Thanee, N., Aroon, S., Tantipanatip, W. and Tantikamton, K. 2015. Mammal dung preference of dung beetles in Nakhon Ratchasima province, Thailand. Proceedings of the 11th Inter-University Cooperation program. ASIAN Community Knowledge Networks for the Economy, Society, Culture, and Environmental Stability. 30 March - 3 April, 2015, Kathmandu. Federal Democratic Republic of Napal.

  • Tantikamton, K. Thanee, N. Jitpukdee, S. and Potter, M. 2015. The ecological characteristics of benthic macrofauna and the application of Marine Biotic Index (AMBI) to assess tourism beaches health in Krabi province, Thailand. International Journal of Agricultural Technology.  11(7): 1475-1491.

  • Jitpukdee, S., Tantikamton, K., Thanee, N. and Tantipanatip, W. 2015. Species diversity of benthic macrofauna on the intertidal zone of seacoasts in Krabi, Trang and Satun Provinces, Thailand. International Journal of Agricultural Technology.  11(8): 1767-1780.

  • Tantikamton, K., Rodpai, J., Srinakorn, P. and Jitpukdee, S. 2016. Species Diversity and Spatial Distribution of Macroinvertebrates on the Intertidal Zone of Rajamangala Beach, Trang Province, Thailand. In Proceeding of the 2nd environment and natural resources international conference (ENRIC 2016): Interdisciplinary approaches to future earth environment. 16-17 November 2016, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, Thailand.

  • Jitpukdee, S., Krainara, P. and Tantikamton, K. 2016. Sacular Otolith Morphology of Some Freshwater Fishes in Order Synbranchiformes from Southern Region of Thailand. In Proceeding of the 5th international conference on integration of science and technology for sustainable development 2016 (5th ICIST 2016). 26 – 27 November 2016. Inle Cherry Queen Hotel, Southern Shan State, Myanmar.

  • Tantikamton, K., Jitpukdee, S. and Srinakorn, P. 2016. Nest-site Selection of Weaver Ant (Oecophylla smaragdina Fabricus, 1775) in Melaleuca Forest, Rajamangala University of Technology Srivijaya, Trang province, Thailand. In Proceeding of the 5th international conference on integration of science and technology for sustainable development 2016 (5th ICIST 2016). 26 – 27 November 2016. Inle Cherry Queen Hotel, Southern Shan State, Myanmar.

  •  Tantikamton, K., Rodpai, J., Srinakorn, P. and Jitpukdee, S.  2017. Species Diversity and Spatial Distribution of Macroinvertebrates on the Intertidal Zone of Rajamangala Beach, Trang Province, Thailand. Environment and Natural Resources Journal: 15(1). 30-40.  

 
ประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม
  • 2548, 2551 ตรวจประเมินการจัดการควบคุมปริมาณฝุ่นจากโรงโม่หินและเหมืองหิน จังหวัดตรังและจังหวัดกระบี่ 
  • 2548 ตรวจประเมินน้ำเสียและเขม่าควันจากโรงงานปาล์มน้ำมันและโรงงานยางพารา จังหวัดตรังและจังหวัดกระบี่
  • 2551, 2552 ตรวจประเมินชายหาดท่องเที่ยวจังหวัดตรัง จำนวน 36 ชายหาด 
  • 2554 ฝึกปฏิบัติงานวิจัย ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อนกเพนกวินสีฟ้าพันธุ์เล็ก ประเทศนิวซีแลนด์
  • 2548 – 2553 หัวหน้าสาขาสิ่งแวดล้อม  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดตรัง 

 

ประสบการณ์ด้านหลักสูตร

  • 2549 จัดทำหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • 2552 จัดทำหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • 2553 จัดทำหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • 2559 ปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม)
            ปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • 2560 ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

 

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา

  • 2559 นางสาวจันทิมา รอดภัย  วิทยานิพนธ์เรื่อง การแพร่กระจายและความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณชายหาด จังหวัดตรัง
  • 2560 นางสาววิกัญดา แสงเงิน วิทยานิพนธ์เรื่อง ความหลากหลายของพันธุ์พืชและการใช้ประโยชน์ในป่าเสม็ด อำเภอสิเกา และอำเภอกันตัง จังหวัดตรัง    
 
โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ
  • วงจรชีวิต การเลือกแหล่งสร้างรัง และกำลังผลิตมดแดง (Oecophylla smaragdina Fabricius, 1775) ในป่าเสม็ดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดตรัง 2561
  • ความสัมพันธ์และการแพร่กระจายปูปั้นทราย (Family Dotillidae) กับลักษณะตะกอนดินชายหาด   จังหวัดตรัง 2561
  • การแพร่กระจายและความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณชายหาด จังหวัดตรัง 2562
 
ประสบการณ์การทำงาน
  • 2541- 2547      สาขาวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
  • 2548-2553      สาขาสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
  • 2558-ปัจจุบัน    สาขาสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง