• ภาษาไทย
    • English

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 : การบริการวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2558

 


เอกสารหลักฐาน

ข้อ การดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน หมายเลขและรายการหลักฐาน
1.

จัดทำแผนการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมและเสนอกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณาอนุมัติ

ผลการดำเนินงาน

     คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มีการกำหนดชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยเลือกชุมชนในอำเภอ  สิเกา คือชุมชนตำบลบ่อหิน โดยคณะกรรมการทั้งหมดได้เข้าร่วมเป็นกรรมการทำหน้าที่ในการบริการวิชาการแก่สังคม โดยกำหนดชุมชนเพื่อดำเนินการให้ความรู้และการบริการวิชาการแก่ชุมชน และหน่วยบริการวิชาการได้ดำเนินการจัดทำแผนการบริการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม แต่ไม่ได้นำแผนบริการวิชาการประจำปีเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง การดำเนินกิจกรรมการให้บริการวิชาการ โดยร่วมมือกันระหว่างอาจารย์ นักศึกษา และชุมชน

     1. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง โดยคณะกรรมการบริการวิชาการ ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2559 และแผนงานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง โดยได้นำข้อเสนอแนะจากการจัดโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2558 มาปรับปรุงและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2559 พร้อมทั้งกำหนดตัวบ่งชี้ความสำเร็จทั้งในระดับแผนงานและโครงการบริการวิชาการแก่สังคม

     2. จัดทำแผนการดำเนินโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมได้แก่

          2.1 โครงการบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนบ้านบ่อหิน

          2.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบแอนิเมชัน ๒ มิติ ตามหลักการและทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูในเขตพื้นที่ตำบลไม้ฝาดและตำบล    เกาะลิบง

          2.3 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซ่อมบำรุงไฟฟ้าให้กับชุมชน พื้นที่เกาะสุกร อ.ปะเหลียน  จ.ตรัง

     3. ดำเนินกิจกรรมการให้บริการวิชาการเป็นไปตามแผนการดำเนินงาน โดยร่วมกันระหว่างอาจารย์ นักศึกษาในสาขาและชุมชน ซึ่งได้ติดตามสรุปผลโครงการบริการวิชาการและรายงานต่อคณะกรรมการบริการวิชาการของหน่วยงาน

     4. คณะกรรมการร่วมกับตัวแทนชุมชนประเมินผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2559 ว่ามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผน เนื่องจากมีการดำเนินงานตามระบบและกลไกที่วางไว้เป็นอย่างดี

FSFT-3.1-1-01      คำสั่งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ที่ 50/2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานบริการทางวิชาการ

FSFT-3.1-1-02     รายงานการประชุมหน่วยงานบริการวิชาการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง

FSFT-3.1-1-03     แผนดำเนิน งานบริการทางวิชาการแก่สังคม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ประจำปีงบประมาณ2559

FSFT-3.1-1-04     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 1 การสำรวจความต้องการและประชาสัมพันธ์

FSFT-3.1-1-05      แผนการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2558

2.

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมตามแผน มีการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม

     ผลการดำเนินงาน

      คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ได้กำหนดชุมชนเป้าหมายดำเนินการจัดทำแผนการบริการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และดำเนินการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการทางวิชาการเพื่อการพัฒนาด้านนักศึกษา ชุมชนและสังคม และมีนำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยในการดำเนินโครงการบริการวิชาการของแต่ละโครงการ  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มีโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2559 จำนวน 3 โครงกาโดยโครงการทั้งหมดได้วางแผนสำหรับการใช้ประโยชน์เพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคมนอกจากนี้ คณะฯ ได้มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ และการวิจัยในแต่ละโครงการดังตาราง

ชื่อโครงการ

แผนการใช้ประโยชน์

พัฒนานักศึกษา

พัฒนาชุมชน สังคม

1. โครงการบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนบ้านบ่อหิน ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

กิจกรรมย่อยที่ 1การสำรวจความต้องการและประชาสัมพันธ์

 กิจกรรมย่อยที่ 2

การให้บริการวิชาการทางด้านอบรมการจัดการของเสียจากชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 3

โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงหอยนางรมจากโรงเพาะฟักสู่ชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 4

การให้บริการวิชาการการด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 5

การให้บริการวิชาการทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 6

การให้บริการวิชาการภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 7

การเสวนารายงานผลการดำเนินงานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการดำเนินงาน

-

 

1.การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. การเพาะเลี้ยงหอยทะเล

      

 

 

 

                   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. ปฏิบัติการ ทางเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

2.การบริหารธุรกิจประมงขนาดกลางและขนาดย่อม      

                           

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. วัฒนธรรมและขนบประเพณีของภาคใต้ ชีวิตและเศรษฐกิจพอเพียง               

 

 

 

 

 

 

       

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-

 

ชุมชน ประชาชนและคณะครูโรงเรียนบ้านดุหุนที่เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือและร่วมปฏิบัติ

กิจกรรมต่างๆ

ที่ทางผู้จัดโครง

การกำหนดไว้เป็น

อย่างดี

 

 

 

ชุมชนสามารถ

เรียนรู้เทคนิคการ

เพาะและอนุบาล

ลูกหอยนางรม

จากโรงเพาะฟัก

จากการฝึกอบรม

สามารถเป็น

ชุมชนต้นแบบได้

ในอนาคต

 

ผู้นำชุมชน กลุ่ม

วิสาหกิจชุมชน

สมาชิกชุมชน

และสถาบันการ

ศึกษาร่วมกันแสดง

ความคิดเห็นแลก

เปลี่ยนเรียนรู้

องค์ความรู้ความรู้

ที่สามารถนำไป

พัฒนาและปรับใช้

ในการประกอบ

อาชีพอย่างต่อ

เนื่องและยั่งยืน

 

ชุมชนมีส่วนใน

การคัดเลือกตัว

ผลิตภัณฑ์และ

วัตถุดิบที่ใช้ในการ

ผลิต มีส่วนร่วม

ในการแสดง

ความคิดเห็นใน

กระบวน  การผลิต

 

 

สาขาศึกษาทั่วไป

มีส่วนร่วมในการ

วางแผนการจัด

กิจกรรมให้ชุมชน

โดยการนำความรู้

ในชุมชนมาประ

ยุกต์ใช้ให้เหมาะ

สม โดยเฉพาะการ

สร้างอาชีพเสริม

เพื่อรายได้ให้ชุมชน

 

 

 

-

 

 

 

 

2.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ แอนิเมชัน ๒ มิติ ตามหลักการและทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูในเขตพื้นที่ ต.ไม้ฝาดและ ต.เกาะลิบง 

1. เทคนิคการโฆษณาและจัดนิทรรศการ    

2. การออกแบบและพัฒนาเว็บ

3.การออกแบบกราฟิก       

คณะครูให้ความ

สนใจในการเข้ารับ

การฝึกอบรมเกี่ยว

กับการพัฒนาสื่อ

หลากหลายรูปแบบ

3.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซ่อมบำรุงไฟฟ้าให้กับชุมชน พื้นที่เกาะสุกร อ.ปะเหลียนจ.ตรัง                              

1. การส่องสว่างและการออกแบบ

2.เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า

3.หลักการเครื่องจักรกลไฟฟ้า

4. ไฟฟ้าอุตสาหกรรม

ชาวบ้านในชุมชน

ซึ่งประสานโดย

องค์การบริหาร

ส่วนตำบลเกาะสุกร

ได้ให้ความสนใจ

และเห็นประโยชน์

ของการฝึกอบรม

เชิงปฏิบัติการซ่อม

บำรุงไฟฟ้าเนื่อง

จากสภาพภูมิ

ประเทศเป็นเกาะ

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ข้อ 1)

FSFT-3.1-1-05     แผนการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีการศึกษา 2558

 

FSFT-3.1-2-01     แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการทางวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2558 
3.

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 อย่างน้อยต้องมีโครงการที่บริการแบบให้เปล่า

     ผลการดำเนินงาน

     คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มีโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบให้เปล่า ประจำปีงบประมาณ 2559 จำนวน 3 โครงการ

     1. โครงการบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนบ้านบ่อหิน

     2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ แอนิเมชัน ๒ มิติ ตามหลักการและทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูในเขตพื้นที่ตำบลไม้ฝาดและตำบลเกาะลิบง 

  3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซ่อมบำรุงไฟฟ้าให้กับชุมชน พื้นที่เกาะสุกร อ.ปะเหลียน จ.ตรัง 

FSFT-3.1-3-01     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 1 การสำรวจความต้องการและประชาสัมพันธ์

FSFT-3.1-3-02     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 2 การให้บริการวิชาการทางด้านอบรมการจัดการของเสียจากชุมชน

FSFT-3.1-3-03     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 3 การให้บริการวิชาการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงหอยนางรมจากโรงฟักสู่ชุมชน

FSFT-3.1-3-04 รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 4 การให้บริการวิชาการทางด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

FSFT-3.1-3-05 รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 5 การให้บริการวิชาการทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

FSFT-3.1-3-06     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 6 การให้บริการวิชาการภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

FSFT-3.1-3-07     รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 7 การเสวนารายงานผลการดำเนิน งานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการดำเนินงาน

FSFT-3.1-3-08    รายงานผลการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติ การการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ แอนิเมชัน ๒ มิติ ตามหลักการและทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูในเขตพื้นที่ตำบลไม้ฝาดและตำบลเกาะ ลิบง       

FSFT-3.1-3-09 รายงานผลการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซ่อมบำรุงไฟฟ้าให้กับชุมชน พื้นที่เกาะสุกร        อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
4.

ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และนำเสนอกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา

     ผลการดำเนินงาน

     1. ประชุมคณะกรรมการแต่ละโครงการเพื่อกำหนดตัวชีวัดความสำเร็จของโครงการทั้งเชิงปริมาณ

และเชิงคุณภาพ

     2. การดำเนินโครงการบริการวิชาการตามตัวบ่งชี้ของแต่ละโครงการ

     3. ประเมินโครงการบริการวิชาการ (FM05-04), ประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (FM05-05) และติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชาการสู่ความเข็มแข็งของชุมชน (FM05-06) ซึ่งในแต่ละโครงการได้มีการติดตามประเมินผลทางด้านความพึงพอใจ โดยทำการประเมินทันทีเมื่อสิ้นสุดโครงการ และทำการประเมินอีกครั้งหลังสิ้นสุดโครงการประมาณ 3-4 เดือน ในกิจกรรมย่อยที่ 7 ภายใต้โครงการบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนบ้านบ่อหิน เพื่อทราบผลการนำไปใช้ประโยชน์ และได้นำผลการประเมินดังกล่าวแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบเพื่อนำมาพัฒนา ปรับปรุงการดำเนินงานต่อไป

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ข้อ 1)

FSFT-3.1-1-02    รายงานการประชุมหน่วยงานบริการวิชาการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ข้อ 3)

FSFT-3.1-3-01  รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 1 การสำรวจความต้องการและประชาสัมพันธ์

FSFT-3.1-3-02  รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 2 การให้บริการวิชาการทางด้านอบรมการจัดการของเสียจากชุมชน

FSFT-3.1-3-03 รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 3 การให้บริการวิชาการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงหอยนางรมจากโรงฟักสู่ชุมชน

FSFT-3.1-3-04  รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 4 การให้บริการวิชาการทางด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

FSFT-3.1-3-05  รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 5 การให้บริการวิชาการทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

FSFT-3.1-3-06  รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 6 การให้บริการวิชาการภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

FSFT-3.1-3-07 รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 7 การเสวนารายงานผลการดำเนิน งานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการดำเนินงาน

FSFT-3.1-3-08  รายงานผลการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติ การการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ แอนิเมชัน ๒ มิติ ตามหลักการและทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูในเขตพื้นที่ตำบลไม้ฝาดและตำบลเกาะลิบง       

FSFT-3.1-3-09  รายงานผลการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซ่อมบำรุงไฟฟ้าให้กับชุมชน พื้นที่เกาะสุกร อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

5.

นำผลการประเมินตามข้อ 4 มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการให้บริการวิชาการสังคม

     ผลการดำเนินงาน

     คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ดำเนินการโดยการจัดผ่านกิจกรรมย่อยที่ ๗ การเสวนารายงานผลการดำเนินงานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการดำเนินงาน ผลการเสวนา พบว่า ชุมชนได้รับความรู้และพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการ แต่พบอุปสรรคในการพัฒนาต่อด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ เนื่องจากขาดโรงเรือนที่ได้มาตรฐาน ซึ่งคณะฯ ให้การช่วยเหลือ สนับสนุนต่อไป นอกจากนี้ ชุมชนยังเสนอความต้องการความรู้และทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ การเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง และการซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องยนต์ จากนั้นเอาผลการเสวนาเสนอที่ประชุม คณะกรรมการประจำคณะทราบ เพื่อพัฒนาแผนบริการวิชาการปีการศึกษา 2559 ต่อไป

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ข้อ 1)

FSFT-3.1-1-02    รายงานการประชุมหน่วยงานบริการวิชาการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง

(หลักฐานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ข้อ 3)

FSFT-3.1-3-07 รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมย่อยที่ 7 การเสวนารายงานผลการดำเนิน งานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการดำเนินงาน

FSFT-3.1-5-01   ประเมินโครง การบริการวิชาการ (FM05-04)

FSFT-3.1-5-02    แบบประเมิน ผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (FM05-05)

FSFT-3.1-5-03   แบบติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชา การสู่ความเข้มแข็งของชุมชน (FM05-06)

FSFT-3.1-5-04    รายงานการประชุมกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 7/2559
6.

คณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน

     ผลการดำเนินงาน

     คณะกรรมการดำเนินงานบริการวิชาการภายในสถาบันมีการวางแผนการดำเนินการโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2559 ร่วมกัน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและไม่ซ้ำซ้อน

     ซึ่งในปีการศึกษา 2558 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว และสถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน โดยการดำเนินงานบริการวิชาการในพื้นที่เดียวกัน คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านบ้านปากคลอง ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง 

 

FSFT-3.1-6-01   หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนแบบมีส่วนร่วมสู่แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นต้นแบบ ของจังหวัดตรัง

FSFT-3.1-6-02  หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะกรรมการบริหารการบริการทางวิชาการ ครั้งที่ 3/2559

FSFT-3.1-6-03   หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะกรรมการดำเนินงานบริการวิชาการระดับมหาวิทยาลัย

FSFT-3.1-6-04  หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะกรรมการบริหารการบริการทางวิชาการ ครั้งที่ 4/2559

FSFT-3.1-6-05   หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมเพื่อพิจารณาโครงการ มทร.ศรีวิชัย รับผิดชอบต่อสังคม ประจำปี 2559

FSFT-3.1-6-06  หนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะกรรมการบริหารการบริการทางวิชาการ ครั้งที่ 5/2559