• ภาษาไทย
    • English

รศ.ดร.ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ


 
ชื่อภาษาอังกฤษ   : Assoc .prof. Dr.Thongchai Nitiratsuwan
ชื่อภาษาไทย       : รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ 
ตำแหน่ง             : อาจารย์

ตำแหน่งทางวิชาการ  :  รองศาสตราจารย์ 

หลักสูตร              :   อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการจัดการประมงและธุรกิจสัตว์น้ำ

TEL             : -

EMAIL         : thongchai.n@rmutsv.ac.th , nitiratsuwan@gmail.com

 
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก   ปร.ด     วาริชศาสตร์               มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ปริญญาโท   วท.ม     วิทยาศาสตร์การประมง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ปริญญาตรี  วท.บ.     ประมงน้ำจืด               สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้

 

สาขาที่เชี่ยวชาญ
  • การจัดการประมง
  • การทำประมงน้ำลึก
  • ภูมิสารสนเทศ
 
ประสบการณ์การสอน
  • ระเบียบวิธีวิจัยทางการประมง
  • ระบบภูมิสารสนเทศทางการประมง
  • คอมพิวเตอร์เพื่อการประมง
  • สถิติเพื่อการประมง 
 
งานวิจัยที่สนใจ
  • การจัดการทรัพยากรประมง
  • การจัดการประมงขนาดเล็ก
  • ระบบภูมิสารสนเทศ 
 
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์

   หัวหน้าโครงการวิจัย

  • การจัดการการเลี้ยงปลากะรังในกระชัง บริเวณจังหวัดตรัง (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)
  • การจัดการกุ้งกุลาดำบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน (งบประมาณแผ่นดิน)
  • การจัดการประมงปูม้า ในอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2545)
  • การจัดการประมงปูม้าแบบบูรณาการและยั่งยืนในจังหวัดตรัง (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2548)
  • แนวทางการจัดการประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดองที่เหมาะสม กรณีศึกษาจังหวัดตรัง (งบประมาณแผ่นดิน 2554)
  • ศักยภาพการเพิ่มผลผลิตปูม้าบริเวณหญ้าทะเลเพื่อชุมชนประมง (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2556-2557)
  • แนวทางลดการทำประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดองจากการทำประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง (งบประมาณแผ่นดิน 2559)
  • แนวทางจัดการประมงกุ้งมังกร (Panulirus spp.) จากการทำประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง (งบประมาณแผ่นดิน 2559-2560)
  • การท่องเที่ยวธรรมชาติเพื่อการอนุรักษ์ปูม้าที่เหมาะสมและยั่งยืนโดยชุมชนประมง กรณีศึกษาชุมชน หยงสตาร์ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง (งบประมาณแผ่นดิน 2560)
  • การประยุกต์ใช้โดรนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของหญ้าทะเลบริเวณอ่าวบุญคง (งบรายได้ 2561)
  • ผลกระทบของโครงการคลองไทยต่อชาวประมงขนาดเล็ก ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง  (งบรายได้ 2562)

งานวิจัยที่ทำสำเร็จแล้ว

   รายงานฉบับสมบูรณ์

  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, อภิรักษ์ สงรักษ์, ชาญยุทธ สุดทองคง และกังวาลย์ จันทรโชติ.  2547.  การจัดการประมงปูม้าในอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, อภิรักษ์ สงรักษ์ และกังวาลย์ จันทรโชติ.  2551.  การจัดการประมงปูม้าในอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, สุวัจน์ ธัญรส และกันย์สินี พันธ์วนิชดำรง.  2555.  แนวทางการจัดการประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดอง กรณีศึกษา จังหวัดตรัง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, พรเทพ วิรัชวงศ์, กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง, รัตนาพร อนันตสุข และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2555.  ศักยภาพการเพิ่มผลผลิตปูม้าบริเวณหญ้าทะเลเพื่อชุมชนประมง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, พรเทพ วิรัชวงศ์, กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2557.  ศักยภาพการเพิ่มผลผลิตปูม้าช่วงปล่อยและหลังปล่อยบริเวณหญ้าทะเลเพื่อชุมชนประมง (ต่อเนื่องปีที่ 2).  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง และวีระพร สุขสมจิต.  2559.  กลยุทธ์เพื่อลดการทำประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดองจากชาวประมงขนาดเล็ก กรณีศึกษาจังหวัดตรัง. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2560.  การจัดการประมงกุ้งมังกร (Panulirus spp.) อย่างยั่งยืนเพื่อชุมชนประมง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, สุชาติ อินกล่ำ,  กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง และนัยนา คำกันศิลป์.  2560. การท่องเที่ยวธรรมชาติเพื่อการอนุรักษ์ปูม้าที่เหมาะสมและยั่งยืนโดยชุมชนประมง กรณีศึกษาชุมชน หยงสตาร์ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, พรเทพ วิรัชวงศ์  และกฤดิกร แก้ววงศ์ศรี นัยนา คำกันศิลป์.  2562. การประยุกต์ใช้โดรนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของหญ้าทะเลบริเวณอ่าวบุญคง.  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

   งานวิจัยตีพิมพ์ที่เผยแพร่

  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, นัยนา คำกันศิลป์ และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2561.  ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ปูม้าโดยชุมชนประมง บ้านหยงสตาร์ จังหวัดตรัง.  วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่.  10 (4):293-305.
  • ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ, พรเทพ วิรัชวงศ์ และสุรศักดิ์ เกตุบุญนาค. 2561. การประยุกต์ใช้โดรนเพื่อสำรวจแหล่งหญ้าทะเล. น. 29-32. ใน การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 10. 26-29 มิถุนายน พ.ศ.2561 ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง วังจันทร์ริเวอร์วิว พิษณุโลก.
  • ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และวีระพร สุขสมจิตร.  2560.  ความคิดเห็นของชาวประมงต่อการลดการทำประมงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ที่มีไข่นอกกระดองของชาวประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง, น.787-795.  ใน  การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 55 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 31 มกราคม - 3 กุมภาพันธ์ 2560, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2560. ชีววิทยาบางประการของกุ้งมังกรเจ็ดสี (Panulirus ornatus Fabricius 1798) จากการทำประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง.  ว.แก่นเกษตร 45 (ฉบับพิเศษ):116-120.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2560. ความคิดเห็นต่อแนวทางการจัดการประมงของผู้มีส่วนได้เสียในการทำประมงกุ้งมังกรในจังหวัดตรัง. น.204-209.   ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9. 8-9 สิงหาคม พ.ศ.2560 อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพ.
  • ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ และกันสินี พันธ์วนิชดำรง.  2560.  การพัฒนาแพรับซื้อสัตว์น้ำในชุมชนสู่ไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาจังหวัดตรัง, น.2431-2438.  ใน  การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, 7-8 ธันวาคม 2560, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.
  • ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2559.  แนวทางการดำเนินโครงการเพิ่มประชากรปูม้าบริเวณแหล่งหญ้าทะเล โดยชุมชนประมง กรณีศึกษาอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง, น.1617-1679.  ใน  การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, 8-9 ธันวาคม 2559, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส. 2558.  การจัดการทรัพยากรปูหิน (Thalamita crenata Latreille, 1829) เชิงพื้นที่. ว.แก่นเกษตร 43(1):5-14.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, สุริยะ จันทร์แก้ว และวรรณิณี  จันทร์แก้ว. 2558. การจัดทำแผนที่ป่าสาคูในจังหวัดตรังด้วยระบบภูมิสารสนเทศ. น. 589-592. ใน การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 7. 8-10 กรกฎาคม พ.ศ.2558 โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา ตรัง.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ. 2557. การจัดการทรัพยากรปูลาย (Charybdis feriata Linnaeus, 1758) ที่เหมาะสม.  ว.วิจัยเทคโนโลยีการประมง 8(2):83-92.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส. 2557.  การประเมินทรัพยากรปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) จากโครงการเพิ่มพันธุ์ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ. ว.วิจัยเทคโนโลยีการประมง 8(1):105-114.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, กันสินี พันธ์วนิชดำรง และจันทร์สว่าง งามผ่องใส.  2557. แนวทางการดำเนินโครงการเพิ่มประชากรปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) บริเวณหญ้าทะเล อ่าวสิเกา อ.สิเกา จ.ตรัง.  ว.แก่นเกษตร 42(4):521-530.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, สุวัจน์ ธัญรส และกันสินี พันธ์วนิชดำรง.  2555.  แนวทางการจัดการประมงปูม้าที่มีไข่นอกกระดองที่เหมาะสมโดยชุมชนประมง.  ว. วิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่.  5 (4):19-29.
  • ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ, บัญชา สมบูรณ์สุข และสมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ.  2553.  ความคิดเห็นของชาวประมงขนาดเล็กที่ทำการประมงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ต่อการจัดการทรัพยากรปูม้าในจังหวัดตรัง, น.218-228.  ใน  การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 48 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาประมง, 3-5 กุมภาพันธ์ 2553, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ และกังวาลย์ จันทรโชติ.  2552.  การจัดการทรัพยากรปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) เชิงพื้นที่กรณีศึกษาจังหวัดตรัง.  ว.วิจัยเทคโนโลยีการประมง 3(2): 97-102.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ.  2552.  โครงการจัดการประมงปูม้าแบบบูรณาการและยั่งยืนในจังหวัดตรัง.  ว. วิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 1(4):28-38.
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, บัญชา สมบูรณ์สุข และสมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ.  2550.  ลักษณะการทำประมงปูม้าของชาวประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง. น. 35 ใน  บทคัดย่อการประชุมทางวิชาการและเสนอผลการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 17, 21 กันยายน 2550, โรงแรมกรีนเวิลด์พาเลซ, สงขลา.   
  • ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ, บัญชา สมบูรณ์สุข และสมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ.  2550.  สภาพเศรษฐกิจ สังคม และการทำประมงปูม้าของชาวประมงขนาดเล็กในจังหวัดตรัง. ว.เกษตรศาสตร์ 28: 309-320.
  • กันย์สินี พันธ์วนิชดํารง, ปรียานุช คงอภัย และธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ. 2558. ระบบภูมิสารสนเทศของการทำประมงกั้งตั๊กแตนในจังหวัดตรัง. น. 593-596. ใน การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 7. 8-10 กรกฎาคม พ.ศ.2558 โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา ตรัง.
  • ประภาพร ปลื้มสงค์, ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ และกันย์สินี พันธ์วนิชดํารง. 2560. สภาวะการทำประมงกุ้งมังกรเลนในจังหวัดตรัง. น. 594-599. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 2. 20 มกราคม พ.ศ.2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
  • ปรียานุช คงอภัย, กันย์สินี พันธ์วนิชดํารง และธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ. 2558. ฤดูกาลวางไข่ของกั้งตั๊กแตนหางจุด (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) ในจังหวัดตรัง. น. 415-421. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 36. 29-31 ตุลาคม พ.ศ.2558 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่.
  • สุรศักดิ์ เกตุบุญนาค, ธงชัย  นิติรัฐสุวรรณ และ ชัยวัฒน์ สากุล. 2561. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายทางอากาศเพื่อแก้ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบริเวณทางโค้ง: กรณีศึกษาทางโค้งถนนสาย 4046 ช่วงสะพานข้ามคลองสองแพรก อ.สิเกา จ.ตรัง. น. 746-749. ใน การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 10. 26-29 มิถุนายน พ.ศ.2561 ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง วังจันทร์ริเวอร์วิว พิษณุโลก.
  • อภินันท์ ชั้นสกุล และและธงชัย นิติรัฐสุวรรณ.  2558. ความคิดเห็นของชาวประมงต่อการจัดการประมงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ที่มีไข่นอกกระดอง ในอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง.  น.157-167.  ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23-25 กรกฎาคม 2557, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, พระนครศรีอยุธยา.
  • อานนท์ กิ่งเกาะยาว และธงชัย นิติรัฐสุวรรณ.  2557. ชีววิทยาบางประการของปูหิน (Thalamita crenata Latreille, 1829) เพื่อการจัดการประมง.  น.71-78.  ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 24, 21-24 พฤษภาคม 2557, ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี, สงขลา.
  • Nitiratsuwan, T., Nitithamyong, C., Chiayvareesajja, S. and Somboonsuke, B. 2010.  Distribution of Blue Swimming Crab (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) in Trang Province.  The Songklanakarin J. Sci. Technol. 32 (3): 207-212.
  • Nitiratsuwan, T. 2012.  Blue swimming crab (Portunus pelagicus) management from small-scale fishing. In Proceeding of International Fisheries Symposium – IFS 2012, Can Tho University, Can Tho City, Viet Nam. Dec. 6-8, 2012: pp 264-269. 
  • Nitiratsuwan, T., Tanyaros, S. and Panwanitdumrong, K.  2013. Distribution of berried female blue swimming crab (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) in the coastal waters of Trang Province, southern Thailand. Maejo Int. J. Sci. Technol.  7(Special Issue): 52-59.
  • Nitiratsuwan, T., Panwanitdumrong, K. and Ngampongsai, C.  2014. Increasing population of blue swimming crab (Portunnus pelagicus Linnaeus, 1758) through stock enhancement: a case study in Boonkong bay, Sikao district, Trang province, Thailand. KU. Fish. Res. Bull. 38 (2):17-26. 
  • Anantasuk, R. and Nitiratsuwan, T.  2015.  Guidelines for blue swimming crab (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) stock enhancement of a fishery community in Trang province, Anadaman sea coast of Thailand.  KU. Fish. Res. Bull. 39 (2):10-21. 
  • Hue, H. T. T., Pradit, S., Lim, A., Goncalo, C. and Nitiratsuwan, T. 2018.   Shrimp and fish catch landing trends in Songkhla lagoon, Thailand during 2003-2016.  App. Ecol. Env. Res. 16(3):3061-3078.
  • Hue, H. T. T., Pradit, S., Jarunee, C., Lim, A. and Nitiratsuwan, T. and Goncalo, C.  2018.  Physical properties of three Songkhla Lagoon fish species in the lower gulf of Thailand during and after the monsoon season.  App. Ecol. Env. Res. 16(5): 6113-6127.
  • Hue, H. T. T., Pradit, S., Lim, A., Nitiratsuwan, T. and Goncalo, C. 2018. Seasonal aspects and the adaptation of fishermen in the Songkhla lagoon, Thailand. Asian Jr. of Microbiol. Biotech. Env. Sc. 20(4): 1325-1331.
  • Hue, H. T. T., Pradit, S., Lim, A., Nitiratsuwan, T. and Jearlaong, S.  2018.  A comparative study of artificial neural network, multiple adaptive regression spline and K-nearest neighbours for predicting fish catch landing in Songkhla Lagoon, Thailand.  pp. 75-90.  In 1st International Conference on Climate Change, Food Security and Local Knownlage, 3-4 September 2018, Kupang, East Nusa Tenggara, Indonesia.
  • Hue, H. T. T., Pradit, S., Lim, A., Nitiratsuwan, T., Jearlaong, S. and Azad S.M.O. 2019.  The correlation between fish catch landing and rainfall, air temperature in the Songkhla lake, Thailand. Ecol. Envi. Cons. 3: scopus
 
 
ตำรา
  • ไม่มี

หนังสือ

  • การจัดการประมงปูม้าของชาวประมงขนาดเล็ก

 

ประสบการณ์การทำงาน

  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณางานวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานทางวิชาการ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ปริญญาโท เอก ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย ที่ปรึกษางานวิจัย