ชื่อภาษาไทย : รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐทิตา โรจน์ประศาสน์
ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์
หลักสูตร : -
TEL : -
EMAIL : natthita@hotmail.com
- ปริญญาเอก ปร.ด. ประชากรศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
- ปริญญาโท สต.ม. สถิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปริญญาตรี บธ.บ. บริหารธุรกิจ (ธุรกิจศึกษา) วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
- การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
- การวางแผนการทดลองทางการประมง , หลักสถิติ , สถิติในชีวิตประจำวัน
- การวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรชายฝั่ง , ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ทางทะเล
งานวิจัยที่สนใจ
- การมีส่วนร่วมของชุมชนชายฝั่งในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
รายการ | ปี พ.ศ. | ชื่อเรื่อง |
หัวหน้าโครงการวิจัย | ปี 2554 |
การรับรู้ของชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนชายฝั่งต่อผลกระทบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรัง |
งบประมาณ 2555 | ความยั่งยืนจากการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศขององค์กรชุมชนชายฝั่งในจังหวัดตรัง | |
งบประมาณ 2555-2556 | กระบวนการสร้างองค์ความรู้เพื่อการอนุรักษ์พะยูนอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนประมงชายฝั่งในจังหวัดตรัง | |
เมษายน พ.ศ. 2558-มีนาคม 2559 |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชาวประมงพื้นบ้านในการดำเนินงานธุรกิจสัตว์น้ำสีเขียวและการฟื้นฟูสัตว์น้ำในแหล่งหญ้าทะเลชุมชนเกาะมุกด์ จังหวัดตรัง | |
พฤษภาคม 2561-เมษายน 2561 | เครือข่ายทางสังคมและพลังข้อมูลสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรหอยตลับของชุมชนในลุ่มน้ำปะเหลียน จังหวัดตรัง | |
งบประมาณ 2561 | ผลผลิตทางการประมงและผลกระทบทางเศรษฐกิจของปะการังเทียมต่อชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดตรัง | |
ผู้ร่วมวิจัย | ปี 2559 | โครงการการสร้างตัวแบบเชิงกระบวนการและเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่งจังหวัดตรังสู่ความยั่งยืน |
- ผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่
- ณัฐทิตา โรจนประศาสน์ ปรีดา เกิดสุข พรคิด อั้นขาว และธงชัย นิติรัตน์สุวรรณ. (2546). โปรแกรมวิเคราะห์พรรณปลาไทย. เกษตรบางพระ, 39 (4), 52-62.
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์, วิภาวรรณ ตินนังวัฒนะ และประเสริฐ ทองหนูนุ้ย (2556ก). ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดpชุมชนชายฝั่งในจังหวัดตรัง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร. ศรีวิชัย), 5(1), 78-95.
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์, ประเสริฐ ทองหนูนุ้ย และวิภาวรรณ ตินนังวัฒนะ (2556ข). ความรู้ภูมิปัญญาเกี่ยวกับพะยูนของชาวบ้านในชุมชนชายฝั่งจังหวัดตรัง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร. ศรีวิชัย), 5(2), 39-55.
-
Rojchanaprasart, N. and Tongnunui, P. (2013). Coastal Residents’ Perceptions of the Impact of Community-based Tourism. NIDA Development Journal, 53(4).
-
Rojchanaprasart, N., Tongnunui, P. and Tinnungwattana, W. (2014). Comparison between Traditional Ecological Knowledge of Coastal Villagers in Trang Province, Thailand and Scientific Ecological Knowledge regarding Dugong. Kasetsart J. (Soc. Sci) 35(2).
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์ วิภาวรรณ ตินนังวัฒนะ และประเสริฐ ทองหนูนุ้ย. (2557). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเล สำหรับโรงเรียนชายฝั่งจังหวัดตรัง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(2 ), 35-47.
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์ วิภาวรรณ ตินนังวัฒนะ และประเสริฐ ทองหนูนุ้ย (2558). ความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่งจังหวัดตรัง. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 36(1), 1-14.
-
Rojchanaprasart, N., Tongnunui, P., Songrak, A., Porndetanan, B., Sanlee, D., Saeton, S. and Chumsaengsri, T. (2018). Development of operational plans for the green aquatic animal business and the aquatic animal restoration of seagrass beds with the participation of small-scale fishers from the Koh Muk community, Trang Province, Thailand. NIDA Development Journal, 58(1), 181-203.
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์, ประเสริฐ ทองหนูนุ้ย, อภิรักษ์ สงรักษ์, บุญครื้น พรเดชอนันต์, ดาวรรณ สันหลี, สมศักดิ์ แซ่ตั้น, et al. (2560). บทเรียนของชาวประมงพื้นบ้านในการดำเนินงานธุรกิจสัตว์น้ำสีเขียวและนฟูสัตว์น้ำในแหล่งหญ้าทะเลชุมชนเกาะมุกด์จังหวัดตรัง. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 57(4), 174-196.
-
ณัฐทิตา โรจนประศาสน์, ประเสริฐ ทองหนูนุ้ย, อภิรักษ์ สงรักษ์, บุญครื้น พรเดชอนันต์, ดาวรรณ สันหลี, สมศักดิ์ แซ่ตั้น, et al. (2561). การปรับตัวของกลุ่มสตรีบ้านเกาะมุกด์ในการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อลดปัญหาเศรษฐกิจของครัวเรือน. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 10(1), 81-96.
-
International conference (ภาคโปสเตอร์)
-
Rojchanaprasart, N., Tongnunui, P., Songrak, A., Porndetanan, B., Sanlee, D., Saeton, S. and Chumsaengsri, T. (2016). Performance of Green Aquatic Animal Business and Aquatic Animal Restoration in Seagrass Bed with Participation of Small-Scale Fishers from Koh Muk Community, Trang. Poster of International Fisheries Symposium 2015. 1-4 December 2015, Penang, Malasia.
-
Rojchanaprasart, N., Tongnunui, P., Songrak, A., Porndetanan, B., Sanlee, D., Saeton, S. and Chumsaengsri, T. (2017). Knowledge and Satisfaction of Lae Lay Youth at Ban Koh Muk, Trang Province, Participating in a Youth Camp to Protect Seagrass and Aquatic Animals. Poster of International Fisheries Symposium -IFS 2016: Promoting Healthier Aquaculture and Fisheries for Food Safety and Security. Phu Quoc Island, Vietnam, October 01- November 02, 2016.
-
ตำรา
- การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
ประสบการณ์การทำงาน
ปี พ.ศ. | ตำแหน่ง | สถานที่ |
พ.ศ. 2541 | อาจารย์ |
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง |
พ.ศ.2538-2540 | เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |
คณะการโรงแรมและการท่องเที่ยว |
พ.ศ.2521-2538 |
- เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี - พนักงานการเงินและบัญชี - นักวิชาการการเงินและบัญชี |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |