• ภาษาไทย
    • English

ผศ.ดร.ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น


 
ชื่อภาษาอังกฤษ   : Asst. Prof. Dr. Chanika Saenge Chooklin
ชื่อภาษาไทย       : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น
ตำแหน่ง             : อาจารย์

ตำแหน่งทางวิชาการ  : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 หลักสูตร             :   อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (ป.โท)

TEL             : 087-492-5651

EMAIL         : chanika.sae@gmail.com

 
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก  ปร.ด.  การจัดการสิ่งแวดล้อม                        มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ปริญญาโท   วท.ม.  การจัดการสิ่งแวดล้อม                        มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ปริญญาตรี   วท.บ.  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร        สถาบันราชภัฏสงขลา

 

สาขาที่เชี่ยวชาญ

  • การจัดการสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ

 
ประสบการณ์การสอน
  • สิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร
  • การจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
  • การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • มลพิษทางน้ำ
  • มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
  • ปัญหาพิเศษ
  • สัมมนา
 
งานวิจัยที่สนใจ
  • การจัดการสิ่งแวดล้อม/การจัดการคุณภาพน้ำ
  • จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม/เทคโนโลยีจุลินทรีย์
  • เทคโนโลยีชีวภาพ
  • วิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ
  • สารลดแรงตึงผิวชีวภาพเพื่องานด้านสิ่งแวดล้อม
  • การจัดการมลพิษทางสิ่งแวดล้อม 
  • การบำบัดและฟื้นฟูมลพิษสิ่งแวดล้อม
  • ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักและน้ำสกัดชีวภาพจากวัสดุเศษเหลือ
 
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์
  • Chanika Saenge Chooklin and Atipan Saimmai. Optimization of an antifungal biosurfactant produced by oil-contaminated soil as a potential biological control in Southern Thailand . Biocatalysis and Agricultural Biotechnology.(submitted)
  • chanika saenge chooklin, “Production and Properties of Biosurfactant from Marine Isolated Pectinatus cerevisiiphilus CT3”, Walailak J Sci & Tech, (Articles in press)
  • ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น สุวิทย์ จิตรภักดี วรรณวิภา ไชยชาญ ชนะ หุ้นย่อง และธีรศักดิ์ รูปสม. 2561. ความหลากชนิดของเห็ดในพื้นที่สวนพฤกษศาสตร์ทุ่งค่าย จังหวัดตรัง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 10(1): 148-159.
  • Saimmai A. Maneerat  S.  Chooklin S C. 2018. Using Corn Husk Powder as a Novel Substrate to Produce a Surface Active Compound from Labrenzia aggregate KP-5. J Surfact Deterg (2018) 21: 523–539
  • Saimmai A, Chooklin CC, Dikit, Meeboon N. 2018. Application of banana peel as a carbon source for biosurfactant production from bacteria isolated from used lubricating oil contaminated soil. Wichcha Journal. June - August. 37: 39-53.
  • Chanika Saenge Chooklin, Suppasil Maneerat and Atipan Saimmai. 2014. Utilization of banana peel as a novel substrate for biosurfactant production by Halobacteriaceae archaeon AS65. Appl Biochem Biotechnol 173 (2), 624-645
  • ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น เอนก สาวะอินทร์ เตือนใจ ปิยัง วรรณวิภา ไชยชาญ และจิระภา จันทร์หนู. การเปรียบเทียบปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพแบบสองขั้นตอน. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 วันที่ 1-3 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมเรือรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดตรัง. 
  • Chanika Saenge Chooklin, Sirirat Phertmean, Benjamas Cheirsilp, Suppasil Maneerat and Atipan Saimmai. 2013. Utilization of palm oil mill effluent as a novel and promising   substrate for biosurfactant production by Nevskia ramosa NA3. Songklanakarin J. Sci. Technol. 35 (2), 167-176,
  • Saimmai A, Petmeaun S, Maneerat S and Chooklin CS, 2013. Oil palm empty fruit  bunch fiber pretreatment and enzymatic hydrolysis for cellulosic ethanol production. August 28-30, 2013. BITEC Bang Na, Bangkok, Thailand pp. 52-55.
  • Saimmai A, Petmeaun S, Maneerat S and Chooklin CS, 2013. Isolation and screening of biosurfactant-producing bacteria using crude glycerol from biodiesel production as a substrate. August 28-30, 2013. BITEC Bang Na, Bangkok, Thailand pp. 79-82.
  • Satianpong Udomsilp, Sirirat Phertmean, Chanika Saenge Chooklin, Vorasan Sobhon,   Suppasil Maneerat and Atipan Saimmai. 2013. Production  and Characterization of Biosurfactant  Produced  by Bacillus subtilis 318 Using Low Cost  Fermentation  Medium. The 4th Regional AFOB Symposium 2013, January 17-19, Chiang Mai, Thailand. pp. 36-39.
  • Atipan Saimmai, Sirirat Phertmean, Benjamas Cheirsilp, Vorasan Sobhon, Chanika   Saenge Chooklin and Suppasil Maneerat. 2013. Isolation and  Phylogenetic Analysis of Surface Active Compound-Prducing Bacteria from Palm Oil Industry. The 4th Regional AFOB Symposium 2013,January 17-19, Chiang Mai, Thailand. pp. 55-58.
  • Satianpong Udomsilp, Sirirat Phertmean, Chanika Saenge Chooklin, Vorasan Sobhon , Suppasil Maneerat and Atipan Saimmai. 2013. Isolation and Screening of Biosurfactant-Producing Bacteria Using Palm Oil Decanter Cake as a Novel Substrate. The 4th Regional AFOB Symposium 2013,January 17-19, Chiang  Mai, Thailand. pp. 59-62.
  • Atipan Saimmai, Sirirat Phertmean, Benjamas Cheirsilp, Vorasan Sobhon,Chanika Saenge  Chooklin and Suppasil Maneerat. 2013. Isolation and Screening of Biosurfactant-Producing Bacteria Using Palm Oil  Mill  Effluent as  a Novel Substrate, The 4th Regional AFOB Symposium 2013,January 17-19, Chiang  Mai, Thailand. pp. 63-66.

 

โครงการวิจัยที่ได้รับสนับสนุนงบวิจัย (หัวหน้าโครงการ)
งบประมาณแผ่นดิน

  • งบประมาณประจำปี 2557 กระบวนการแยกและทำบริสุทธิ์เอทานอลจากน้ำหมักของน้ำทิ้งโรงงานขนมจีน Separation and Purification Process of Ethanol from Fermentation Broth of Rice Noodle Wastewate
  • งบประมาณประจำปี 2560-2561 โครงการต่อเนื่อง การคัดเลือก สภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิต และสมบัติของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่สามารถยับยั้ง Phytophthora palmivora (Butl) สาเหตุโรคเน่าดำในกล้วยไม้ Screening, optimization and characterization of biosurfactant inhibiting Phytophthora palmivora (Butl)causing black rot in orchids

งบรายได้

  • งบประมาณประจำปี 2562  ประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ได้จากการหมักเปลือกส้มโอเพื่อเป็นแนวทางในการยับยั้งโรคพืช
  • งบประมาณประจำปี 2563 การใช้ Lactobacillus casei  เพื่อเร่งกระบวนการหมักปุ๋ยน้ำหมักจากเศษปลาทะเลเหลือทิ้ง และประสิทธิภาพของปุ๋ยน้ำหมักต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวพื้นเมือง

 

 
ตำรา หนังสือ
  • .........................................................................................................
  • .........................................................................................................
  • .........................................................................................................
 
ประสบการณ์การทำงาน
  • ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • คณะกรรมการยกร่างหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตการจัดการทรัพยากรทางทะเลและสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง
  • การบริการวิชาการ : โครงการบริการวิชาการการพัฒนาและการสร้างเพิ่มมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์จากสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนประมง 
  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท
  • กองบรรณาธิการวารสารนาคบุตร
  • ผู้ทรงคุณวุฒิการพิจารณางานวิจัย